ด้วงสาคู for Dummies

ด้วงสาคูหรือด้วงมะพร้าว แหล่งโปรตีนชั้นดีที่เริ่มต้นเพาะเลี้ยงได้ไม่ยาก

Your browser isn’t supported anymore. Update it to get the very best YouTube experience and our hottest characteristics. Find out more

Your browser isn’t supported any longer. Update it to find the finest YouTube practical experience and our latest features. Find out more

เยี่ยมชมร้านเกษตรพันธุ์ไม้ ความจริงแล้วด้วงสาคูหรือด้วงมะพร้าวไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่อะไร สัตว์ชนิดนี้เป็นเสมือนอาหารท้องถิ่นของคนภาคใต้มายาวนานหลายสิบปีแล้ว เช่นเดียวกับการบริโภคแมลงต่างชนิดกันในภูมิภาคอื่นนั่นเอง แต่หลังจากที่มีการค้นพบว่าด้วงสาคูมีคุณค่าทางอาหารสูงมาก โดยเฉพาะโปรตีนชนิดที่มีคุณภาพดีเทียบเท่าเนื้อสัตว์ทั่วไป เลยทำให้ด้วงชนิดนี้ได้รับความสนใจในการทำการเลี้ยงสัตว์ชนิดนี้มากขึ้น ทั้งจากคนที่ต้องการลิ้มลองรสชาติของมันและกลุ่มคนที่ต้องการเพาะเลี้ยงเพื่อสร้างอาชีพ ที่สำคัญยังมีการมองการณ์ไกลว่าด้วงสาคูจะเป็นหนึ่งในอาหารแห่งอนาคตได้อีกด้วย จากเดิมที่ใช้หนอนด้วงเป็นวัตถุดิบสดในการปรุงอาหารธรรมดา จึงเริ่มมีการแปรรูปและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ที่เข้าถึงได้ง่ายยิ่งขึ้น จากแมลงศัตรูพืชที่สร้างความเสียหายให้กับพืชจำพวกปาล์ม เลยกลายเป็นสินค้าที่ทำรายได้มหาศาลให้คนในชุมชน ซึ่งตลาดที่ต้องการด้วงสาคูยังขยายวงกว้างได้อีกหลายเท่า ทั้งในประเทศและต่างประเทศ

ส่วนขั้นตอนการจัดการเลี้ยงด้วงสาคู มีขั้นตอนดังนี้

You happen to be employing a browser that may not supported by Facebook, so we have redirected you to definitely a simpler Edition to supply you with the finest working experience.

– เตรียมท่อนสาคู หรือท่อนลาน ใช้เป็นท่อนเลี้ยงด้วงสาคู ตั้งตรงเรียงไว้บริเวณที่จะเลี้ยง มีความห่างพอเหมาะแก่การดูแล

Your browser ด้วงสาคู isn’t supported any longer. Update it to get the most effective YouTube practical experience and our most current features. Find out more

นักวิจัย ร่วมงานวิจัยกับภาคเอกชน สร้างสรรค์และคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ต่อยอดผลงานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์

นำมาลวกน้ำร้อนก่อนนำไปผัดโดยไม่ต้องใส่น้ำมัน ให้น้ำมันสีดำๆ ในตัวหนอนด้วงออกให้หมด จนกว่าน้ำมันจากตัวหนอนด้วงเป็นสีใส แล้วนำไปล้างน้ำอีกครั้ง

ศัตรูของด้วงสาคู เนื่องจากตัวอ่อนของด้วงสาคูนั้นเป็นอาหารอันโอชะของสัตว์หลายชนิด การปิดล้อมโรงเรือนด้วยตาข่ายที่ได้มาตรฐานก็จะช่วยกันสัตว์ใหญ่ได้ในระดับหนึ่ง แต่สำหรับมดและสัตว์ที่มีขนาดเล็กก็นับว่าป้องกันได้ยากพอสมควร หากในพื้นที่มีมดปริมาณมาก ให้ทำร่องน้ำรอบโรงเรือนเพิ่มเติม พร้อมทั้งหมั่นตรวจสอบความเรียบร้อยของโรงเรือนอย่างสม่ำเสมอ

ครับคนเลี้ยงได้ตังแต่คนทำสวนต้องระวังแน่ใจหรือว่าจะไม่มีพวกนี้เล็ดลอดออกไปทำลายพืช

รวมเทคนิค “วิธีขยายพันธุ์พืช” ยอดฮิตที่เกษตรกรนิยมนำมาใช้ เทคโนโลยีชาวบ้าน

ตลาดต่างประเทศ ปัจจุบันทางองค์การอาหารและยาของไทยยอมรับและอนุญาตให้สามารถส่งออกไปยังต่างประเทศได้

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *